สถาบันการศึกษาต้องสร้างสามัญสำนึก : หน้าที่ & ความรับผิดชอบต่อสภาวะโลกร้อน (Global Warming) 

     สภาวะโลกร้อน ไม่ใช่ประเด็นปัญหาที่ไกลตัว แต่เป็นวาระโลกที่ไทยต้องตระหนักถึงปัญหานี้ให้มากยิ่งขึ้น และต้องปรับตัวเร่งหาหนทางหยุดยั้งหันตภัยทั้งหลายทั้งปวงอันเกิดจากภาวะโลกร้อนนี้ให้ได้ ไม่ว่าเราจะอยู่ในภูมิภาคใดของประเทศ ทุกคนต่างก็มิอาจจะหลีกหนีปัญหาจากสภาวะโลกร้อนไปได้.....

     สภาวะที่โลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ ทำให้อุณภูมิของโลกสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน แผ่ขยายสู่ทุกภาคพื้นโลกประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ การกระทำดังกล่าวเกิดจากน้ำมือของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิกาศส่งผลให้การผลิตเพื่อการบริโภคในด้านต่างๆ ลดลง เกิดการกระทบกันเป็นลูกโซ่ อันเป็นเหตุให้ประชากรโลกอาจจะต้องเผชิญกับภาวะขาดแคลนเป็นจำนวนมหาศาล

        อนาคตของโลกนี้จะเดินไปสู่จุดไหน มนุษย์ชาติจะมีวิถีชีวิตกันอย่างไร ถ้าสภาวการณ์ของสภาพดินฟ้าอากาศเลวร้ายลงไปอีก…?

     สำหรับสถาบันการศึกษาควรแสดงเจตนารมณ์ที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมแก้ไขปํญหาสภาวะโลกร้อน โดยอาศัยบทบาทและวิสัยทัศน์ของการเป็นผู้นำที่ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสภาวะโลกร้อนที่จะเกิดผลร้ายแรงในอนาคตเพื่อให้ประชาคมร่วมรับรู้ เช่น

  1. จัดให้มีการสัมมนาในกลุ่มผู้บริหารสถาบันการศึกษาทุกระดับ ให้ร่วมกันจัดทำโครงการรณรงค์คืนสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อจะทำให้โลกพลิกฟื้นสู่สมดุลทางธรรมชาติ

  2. ส่งเสริมการบูรณาการศาสตร์ในสาขาวิชาต่างๆ สู่การแก้ปัญหาแบบยั่งยืน นำความรู้จากการค้นาคว้าวิจัยทุกสาขา มาร่วมกันหาทางออกที่เป็นรูปธรรม นำขยายสู่สังคมโดยรวม

  3. จุดประกายให้แก่ประชาคมในสถาบันร่วมรณรงค์สร้างสรรค์กิจกรรมและให้มีการสานต่ออย่างต่อเนื่องเพื่อให้เห็นความสำคัญของธรรมชาติที่มีต่อสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์แบบ เรียนรู้ความเป็นไปของโลก และร่วมสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต

  4. ให้มีการบรรจุหลักสูตรทีเกี่ยวกับนิเวศวิทยาทางธรรมชาติ โดยส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเรียนรู้และสร้างวิสัยทัศน์มองการณ์ไกลไปสู่อนาคต ให้เป็นผู้พิทักษ์มิใช่เพื่อตนเอง แต่เพื่อสิ่งที่มีชีวิตทุกๆ ชีวิตบนโลกใบนี้

  5. หัวใจสำคัญก็คือการสร้างสามัญสำนึก เพื่อเหตุเดียวกัน (Common Sense for Common Cause) ในที่นี้คือ ความเชื่อมั่นในแนวทางที่จะร่วมมือกันรับผิดชอบรักษาดูแลโลก เพราะเราคือผู้ที่พึ่งพาเริ่มที่ตนเองก่อน

     มนุษย์ในฐานะเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งบนโลกใบนี้ควารใช้สติสัมปชัญญะด้วยการสร้างกฎระเบียบในการดำเนินชีวิตประจำวันของแต่ละคนภายใต้ข้อปฏิบัติ เช่น ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกครั้งเมื่อเสร็จสิ้นการใช้งาน เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ ปรับและติดตั้งตัววัดอุณหภูมิในเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับอุณหภูมิขณะนั้น เปลี่ยนมาใช้หลอดไฟแบบประหยัดแทนหลอดไฟอื่นๆ เพื่อช่วยลดคาร์บอนไดออกไซค์ปลุกจิตสำนึกสมาชิกในองค์กร ขยายสู่ชุมชน สังคม เมือง และประเทศ ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซค์ได้ดี ร่วมรณรงค์ให้พยายามใช้พลังงานมนุษย์แทนพลังงานอื่นๆ บ้างตามความจำเป็น 

                                                      ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ อธิการบดี
                                                       มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค)

      แหล่งที่มา หนังสือพิมพ์บ้านเมือง วันพุธที่ 24 กันยายน 2551

 

  • https://aceh.lan.go.id/wp-content/giga/
  • https://figmmg.unmsm.edu.pe/file/
  • https://figmmg.unmsm.edu.pe/files/
  • https://figmmg.unmsm.edu.pe/mail/
  • https://ppid.lamongankab.go.id/pay/
  • https://ppid.lamongankab.go.id/wp-content/giga/
  • https://rsudngimbang.lamongankab.go.id/
  • https://dasboard.lamongankab.go.id/
  • https://dpmd.bengkaliskab.go.id/plugins/
  • https://dpmd.bengkaliskab.go.id/storage/
  • https://islamedia.web.id/
  • https://fai.unuha.ac.id/disk/
  • https://fai.unuha.ac.id/post/
  • https://fai.unuha.ac.id/plugins/
  • https://fai.unuha.ac.id/draft/
  • https://fai.unuha.ac.id/giga/
  • slot gacor hari ini
  • slot pulsa
  • slot pulsa
  • nuri77
  • gemilang77
  • slot deposit pulsa
  • slot gacor hari ini
  • slot luar negeri
  • slot pulsa
  • situs toto
  • situs toto
  • toto slot
  • slot pulsa tanpa potongan
  • situs toto
  • situs toto
  • slot pulsa
  • situs toto slot
  • slot deposit pulsa
  • Situs toto macau